Episodit

  • “Safe Therapy: ในจิตบำบัด อะไรทำได้ อะไรทำไม่ได้”
    เคยสงสัยกันไหมคะว่า ผู้รับการบำบัดจะเป็นแฟนกับนักจิตวิทยาการปรึกษา นักจิตบำบัด หรือจิตแพทย์ของตัวเองได้ไหม
    การแตะเนื้อต้องตัวผู้รับบริการด้านสุขภาพจิตหรือการส่งข้อความแชทถึงกันนอกเวลาแบบไหนที่อาจนับว่ายังเหมาะสม
    แบบไหนที่ประชาชนคนทั่วไปอย่างเราต้องเริ่ม “เอ๊ะ” ว่ามันแปลกๆ และอาจล้ำเส้นไปสู่การละเมิดหรือฉวยประโยชน์ทางเพศ
    เราไม่ได้เรียนเรื่องจิตวิทยามา เราเลยอาจไม่เท่าทันผู้ประกอบอาชีพนี้บางคนที่จงใจแสวงหาผลประโยชน์จากเราที่กำลังเปราะบาง ต้องการที่พึ่งอยู่
    นักวิชาชีพที่มีจรรยาบรรณและความสามารถมีสัดส่วนเยอะกว่าคนที่ไม่มี แต่นักวิชาชีพแค่คนเดียวที่ละเมิดจรรยาบรรณก็สร้างความเสียหายรุนแรงให้กับสังคมได้มากแล้ว และเราไม่ควรยอมให้สิ่งนี้เกิดขึ้นต่อไป
    ในพอดแคสต์ตอนนี้ นักวิชาชีพจาก 4 สาขาการดูแลสุขภาพจิต (จิตแพทย์ จิตวิทยาคลินิก จิตวิทยาการปรึกษา และศิลปะบำบัด) ที่ต้องการเป็นส่วนหนึ่งของการส่งเสริมวงการจิตบำบัดที่มีคุณภาพและปลอดภัย มาร่วมไขข้อข้องใจของอาบัน สามัญชน ว่าสิ่งใดทำได้ และสิ่งใดที่อาจต้องพิจารณาว่ายังสอดคล้องกับการรักษาเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของคนไข้/ผู้รับบริการอยู่หรือเปล่า
    นอกจากนี้ ในช่วงแรก เรายังได้พูดคุยกับตัวแทนจากกรมสุขภาพจิต แผนงานสุขภาวะผู้หญิงและความเป็นธรรมทางเพศ สมาคมเพศวิถี และมูลนิธิหญิงชายก้าวไกล เกี่ยวกับความรุนแรงทางเพศ ว่าส่งผลกระทบมหาศาลทั้งในระดับบุคคลและสังคมอย่างไร มีที่มาอย่างไร และแต่ละหน่วยงานขับเคลื่อนการป้องกันและแก้ไขปัญหานี้อย่างไร
    แม้ปัญหาความรุนแรงด้วนเหตุแห่งเพศจะร้ายแรง แต่เรามีความหวังเสมอค่ะ ความหวังในการเรียกร้องกฎหมายและนโยบายปกป้องคุ้มครองผู้รับบริการด้านสุขภาพจิต
    มาร่วมกันทำให้นักวิชาชีพดีๆ มีกำลังใจในการช่วยเหลือจิตใจผู้คนต่อไปด้วยการทำให้มาตรฐานและความปลอดภัยสูงขึ้นเรื่อยๆ ค่ะ
    ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมทำแบบสอบถามสนุกๆ ก่อนฟังรายการ เพื่อสำรวจความคิดตัวเองว่าการกระทำไหนเหมาะสมหรือไม่เหมาะสม
    https://app.sli.do/event/bnq8UFUDJDmn58Drj9sE7P
    และฟังจบแล้ว ชวนมาแชร์ความเห็นกันค่ะว่าจิตบำบัดที่ปลอดภัยมีหน้าตาเป็นอย่างไรกันนะ
    https://docs.google.com/forms/d/1_WgiroCGwTI_XGYVZPCKjR5cj-zMMwgdAOGa5NwJcek/edit?usp=drivesdk


    บทความสรุปเนื้อหาการเสวนา โดย The Standard






     

    กิจกรรม Safe Zone Talk: Safe Therapy อะไรทำได้ อะไรทำไม่ได้
    จัดขึ้นเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2568

    กิจกรรมครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 ช่วงสำคัญ ที่ช่วยให้ผู้เข้าร่วมได้รับมุมมองเชิงลึกจากผู้เชี่ยวชาญและนักจิตวิทยาในด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงด้วยเหตุแห่งเพศ


     ช่วงที่ 1 “ผลกระทบจากความรุนแรงด้วยเหตุแห่งเพศ: การป้องกันและช่วยเหลือ”
    ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้จากประสบการณ์ของคุณอังคนา อินทสา มูลนิธิหญิงชายก้าวไกล, ดร.วราภรณ์ แช่มสนิท ที่ปรึกษาแผนงานสุขภาวะผู้หญิงและความเป็นธรรมทางเพศ และ นพ.พงศกร เล็งดี ผู้อำนวยการศูนย์สุขภาพจิตที่ 13 กรมสุขภาพจิต ที่ได้ช่วยเปิดมุมมองถึงผลกระทบที่เกิดจากความรุนแรงที่ส่งผลเสียอย่างลึกซึ้งต่อทุกด้านของชีวิต การป้องกันและแก้ไขปัญหาเหล่านี้ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในสังคม ตั้งแต่การสร้างความตระหนักรู้ การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ไปจนถึงการจัดการช่วยเหลือที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน



     ช่วงที่ 2 “Safe Therapy ในจิตบำบัด: อะไรทำได้ อะไรทำไม่ได้”
    ดร.กุลวดี ทองไพบูลย์ นักจิตวิทยาคลินิกอิสระ, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณฐวัฒน์ ล่องทอง อาจารย์ภาควิชาจิตวิยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, นพ.ธิติ ภัคดุรงค์ จิตแพทย์ และ คุณธิติภัทร รวมทรัพย์ นักศิลปะบำบัด HCPC Registered ได้ช่วยเปิดมุมมองของผู้ให้บริการที่ใช้เครื่องมือจากศาสตร์ด้านจิตวิทยา ว่าสำหรับการบำบัดทางจิตวิทยานั้น เป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยความไว้วางใจ ความเป็นมืออาชีพและความปลอดภัยของผู้รับการบำบัด (Client) เพื่อช่วยให้พวกเขาสามารถสำรวจปัญหาและความรู้สึกได้อย่างอิสระ อย่างไรก็ตามการรักษาความปลอดภัยในกระบวนการต้องคำนึงถึงสิ่งที่ “ควรทำ” และ “ไม่ควรทำ” โดยอาจเป็นทั้งจากจรรยาบรรณของผู้ให้บริการและความเหมาะสมของสถานการณ์ที่เกิดขึ้นด้วย
    ทั้งนี้ การทำจิตบำบัดที่ดีจะช่วยให้ผู้รับการบำบัดสามารถสำรวจความรู้สึกและปัญหาได้อย่างอิสระ ในสภาพแวดล้อมที่เข้าใจและสนับสนุนพวกเขาอย่างแท้จริง

  • กิจกรรม Safe Zone Talk: Safe Therapy อะไรทำได้ อะไรทำไม่ได้
    จัดขึ้นเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2568


    กิจกรรมครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 ช่วงสำคัญ ที่ช่วยให้ผู้เข้าร่วมได้รับมุมมองเชิงลึกจากผู้เชี่ยวชาญและนักจิตวิทยาในด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงด้วยเหตุแห่งเพศ


    ช่วงที่ 1 “ผลกระทบจากความรุนแรงด้วยเหตุแห่งเพศ: การป้องกันและช่วยเหลือ”
    ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้จากประสบการณ์ของคุณอังคนา อินทสา มูลนิธิหญิงชายก้าวไกล, ดร.วราภรณ์ แช่มสนิท ที่ปรึกษาแผนงานสุขภาวะผู้หญิงและความเป็นธรรมทางเพศ และ นพ.พงศกร เล็งดี ผู้อำนวยการศูนย์สุขภาพจิตที่ 13 กรมสุขภาพจิต ที่ได้ช่วยเปิดมุมมองถึงผลกระทบที่เกิดจากความรุนแรงที่ส่งผลเสียอย่างลึกซึ้งต่อทุกด้านของชีวิต การป้องกันและแก้ไขปัญหาเหล่านี้ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในสังคม ตั้งแต่การสร้างความตระหนักรู้ การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ไปจนถึงการจัดการช่วยเหลือที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน




    ช่วงที่ 2 “Safe Therapy ในจิตบำบัด: อะไรทำได้ อะไรทำไม่ได้”
    ดร.กุลวดี ทองไพบูลย์ นักจิตวิทยาคลินิกอิสระ, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณฐวัฒน์ ล่องทอง อาจารย์ภาควิชาจิตวิยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, นพ.ธิติ ภัคดุรงค์ จิตแพทย์ และ คุณธิติภัทร รวมทรัพย์ นักศิลปะบำบัด HCPC Registered ได้ช่วยเปิดมุมมองของผู้ให้บริการที่ใช้เครื่องมือจากศาสตร์ด้านจิตวิทยา ว่าสำหรับการบำบัดทางจิตวิทยานั้น เป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยความไว้วางใจ ความเป็นมืออาชีพและความปลอดภัยของผู้รับการบำบัด (Client) เพื่อช่วยให้พวกเขาสามารถสำรวจปัญหาและความรู้สึกได้อย่างอิสระ อย่างไรก็ตามการรักษาความปลอดภัยในกระบวนการต้องคำนึงถึงสิ่งที่ “ควรทำ” และ “ไม่ควรทำ” โดยอาจเป็นทั้งจากจรรยาบรรณของผู้ให้บริการและความเหมาะสมของสถานการณ์ที่เกิดขึ้นด้วย
    ทั้งนี้ การทำจิตบำบัดที่ดีจะช่วยให้ผู้รับการบำบัดสามารถสำรวจความรู้สึกและปัญหาได้อย่างอิสระ ในสภาพแวดล้อมที่เข้าใจและสนับสนุนพวกเขาอย่างแท้จริง

  • Puuttuva jakso?

    Paina tästä ja päivitä feedi.

  • Timestamps

    0:00 เริ่ม+ชิมไอติม Everyday Scoop รสไดโนเสาร์คอยาว เบนนู อาบัน เบร้อ
    25:20 ข่าวลุ้นดาวเคราะห์น้อย 2024 YR4 จะชนโลกหรือไม่
    52:36 ข่าวทดสอบ theories of mind ในโบโนโบ
    1:01:15 ข่าวลิงบาบูนสอบส่องกระจกไม่ผ่าน
    1:16:20 อาบันเล่าเรื่อง HerorRATs น้องหนูกู้ระเบิด
    1:46:00 ข่าว AI ช่วยอ่านสีหน้าอารมณ์สัตว์
    2:04:05 ข่าวน้องเต่าเต้นระบำสนามแม่เหล็ก
    2:21:02 ข่าวหมีกริซลี่กลัวโดรน(เกริ่น) + อาบันคั่นด้วยเรื่องวงการจิตวิทยาและการบำบัด
    2:30:11 เล่าข่าวหมีกลัวโดรนต่อ
    2:44:10 ข่าวขนหมีขาวมีน้ำมันกันน้ำแข็งเกาะ
    2:54:05 ข่าวราซอมบี้แมงมุม Gibellula attenboroughii
    3:03:02 ข่าวคลิปปลา angler fish
    3:11:36 โครงการตั้งธนาคารความหลากหลายทางชีวภาพบนดวงจันทร์

     

    https://www.youtube.com/live/nUplFbCfb-Q





     



    WiT News

    ข่าวลุ้นดาวเคราะห์น้อย 2024 YR4 จะชนโลกหรือไม่

    https://edition.cnn.com/2025/02/15/science/asteroid-2024-yr4-earth-tracking/index.html

    https://www.newscientist.com/article/2468890-odds-of-asteroid-2024-yr4-hitting-earth-in-2032-have-reached-new-high/





    ข่าวทดสอบ theories of mind ในโบโนโบ

    https://www.theskepticsguide.org/podcasts/episode-1022

    https://theness.com/neurologicablog/do-apes-have-a-theory-of-mind/



     



    https://www.youtube.com/watch?v=km3VOMRxK7I

     

    ข่าวลิงบาบูนสอบส่องกระจกไม่ผ่าน

    https://royalsocietypublishing.org/doi/10.1098/rspb.2024.1933

    https://www.sciencenews.org/article/wild-baboons-mirror-recognize-test

    https://www.pnas.org/doi/full/10.1073/pnas.1620764114



    อาบันเล่าเรื่อง HerorRATs น้องหนูกู้ระเบิด

    APOPO's sniffer rats/Hero Rats, part of a PCF-funded project (working with EWT) to train African giant pouched rats to identify illegal shipments of pangolin scales at transit hubs.OK to use but must credit.



    ข่าว AI ช่วยอ่านสีหน้าอารมณ์สัตว์

    https://www.science.org/content/article/can-ai-read-pain-and-other-emotions-your-dog-s-face



     

    ข่าวน้องเต่าเต้นระบำสนามแม่เหล็ก

    https://www.cbc.ca/radio/quirks/feb-15-how-ai-is-transforming-science-and-more-1.7459288

    https://www.nature.com/articles/s41586-024-08554-y

    https://www.youtube.com/watch?v=hotOqKdG3cc



     

    ข่าวหมีกริซลี่กลัวโดรน

    https://www.cbc.ca/radio/quirks/feb-8-the-rapidly-changing-arctic-and-more-1.7452546

    https://www.frontiersin.org/news/2025/01/27/drones-haze-bears-wesley-sarmento

    https://www.youtube.com/watch?v=y0UpYcUqUIQ

    ข่าวขนหมีขาวมีน้ำมันกันน้ำแข็งเกาะ

    https://www.cbc.ca/radio/quirks/feb-1-technology-to-preserve-biodiversity-and-more-1.7447155

    https://www.science.org/doi/10.1126/sciadv.ads7321



    ข่าวราซอมบี้แมงมุม Gibellula attenboroughii

    https://www.nytimes.com/2025/02/07/science/spiders-fungus-zombies-bbc.html

    https://www.fuse-journal.org/images/Issues/Vol15Art7.pdf



     

    ข่าวคลิปปลา angler fish

    https://www.instagram.com/reel/DFs703_oWHt/?utm_source=ig_web_copy_link&igsh=MzRlODBiNWFlZA==

    https://www.instagram.com/reel/DGBWoa5ogzY/?utm_source=ig_web_copy_link&igsh=MzRlODBiNWFlZA==

    https://www.youtube.com/watch?v=T0IrIjYXtS8

    โครงการตั้งธนาคารความหลากหลายทางชีวภาพบนดวงจันทร์

    https://www.cbc.ca/radio/quirks/feb-1-technology-to-preserve-biodiversity-and-more-1.7447155

    https://nationalzoo.si.edu/conservation/center-for-species-survival/creating-a-lunar-biorepository

    https://academic.oup.com/bioscience/article-abstract/74/8/561/7715645?redirectedFrom=fulltext

     

    ธนาคารเมล็ด (seeb bank)ที่ Svalbard

  • https://www.youtube.com/watch?v=VZp0Ce5Ek2k

     



    ข่าวใช้ตดแมงกินฟัน(แบคทีเรีย) วิเคราะห์เจอว่าบรรพบุรุษมนุษย์รุ่นลูซี่ (Australopithecine) เคยกินพืชเป็นหลัก
    https://www.cbc.ca/radio/quirks/jan-18-climate-scientists-as-physicians-of-the-planet-and-more-1.7433393
    https://www.npr.org/2025/01/16/nx-s1-5259540/a-new-way-to-see-what-was-for-dinner-3-million-years-ago
    https://www.sciencenews.org/article/early-human-ancestors-didnt-eat-meat
    https://www.science.org/doi/10.1126/science.adq7315





     

    ผลวิเคราะห์องค์ประกอบดาวเคราะห์น้อย Bennu ที่เก็บส่งกลับมาโดยมิชชั่น Osiris-Rex พบกำเนิดระบบสุริยะเต็มไปด้วยวัตถุดิบของชีวิต
    https://edition.cnn.com/2025/01/29/science/asteroid-bennu-building-blocks-of-life/index.html
    https://www.cbc.ca/radio/quirks/feb-1-technology-to-preserve-biodiversity-and-more-1.7447155
    https://svs.gsfc.nasa.gov/14774/
    https://www.nature.com/articles/s41550-024-02472-9

     







     



     

    WiT Quiz

    ข้อ 1 AI แก้พิษงู
    https://www.sciencenews.org/article/ai-snake-antivenom-venom
    https://www.nature.com/articles/d41586-025-00133-z

    ข้อ 2 ไรไร้เซ็กส์
    https://www.earth.com/news/how-mites-survived-without-sex-for-millions-of-years/
    https://www.science.org/doi/10.1126/sciadv.adn0817

    ข้อ 3 หนูคันหู การเกามีประโยชน์อย่างไร
    https://www.nature.com/articles/d41586-025-00256-3
    https://www.science.org/content/article/scientists-uncover-mechanism-behind-vicious-itch-scratch-cycle
    https://www.science.org/doi/10.1126/science.adn9390

  • https://www.youtube.com/shorts/s9iLFpZvB-U

    https://youtube.com/live/kQa9DDxfQM8

    ข่าวโลกร้อนทะลุ 1.5 องศา C

    https://scitechdaily.com/earths-hottest-year-yet-how-2024-shattered-records-and-raised-alarm/

    https://www.nytimes.com/interactive/2025/01/09/climate/2024-heat-record-climate-goal.html#

    https://climate.copernicus.eu/copernicus-2024-first-year-exceed-15degc-above-pre-industrial-level#:~:text=2024%20is%20confirmed%20by%20the,above%20its%20pre%2Dindustrial%20level.

    https://data.giss.nasa.gov/gistemp/

    https://www.wri.org/insights/history-carbon-dioxide-emissions



     

    ข่าวยอดขายรถ EV ที่ Norway

    https://www.bbc.com/news/articles/cg52543v6rmo

    ข่าวคนรวยใช้โควต้าคาร์บอนหมดใน 10 วัน

    https://www.theguardian.com/environment/2025/jan/10/worlds-richest-use-up-their-fair-share-of-2025-carbon-budget-in-10-days



    วิดิโออธิบายสาเหตุไฟป่าที่แคลิฟอเนีย

    https://www.youtube.com/watch?v=qDZ2fR8QdTg


    ผลกระทบด้านสุขภาพที่ตามมาหลังไฟป่า
    https://www.nytimes.com/2025/01/11/climate/wildfire-smoke-risks.html
    https://www.livescience.com/planet-earth/wildfires/whats-in-the-pink-fire-retardant-being-dropped-on-la-and-is-it-dangerous



    ข่าวเฝ้าระวังไวรัสไข้หวัดนก H5N1 ในนมวัวที่อเมริกา
    https://theconversation.com/bird-flu-flares-up-again-in-michigan-poultry-an-infectious-disease-expert-explains-the-risk-to-humans-chickens-cows-and-other-animals-233061
    https://www.cdc.gov/bird-flu/situation-summary/mammals.html
    https://www.fda.gov/food/alerts-advisories-safety-information/investigation-avian-influenza-h5n1-virus-dairy-cattle
    https://www.nature.com/articles/s41586-024-08166-6


    เรื่องราววิวัฒนาการใน DNA ของตุ่น Marsupial
    https://www.cbc.ca/radio/quirks/jan-18-climate-scientists-as-physicians-of-the-planet-and-more-1.7433393
    https://theconversation.com/world-first-study-reveals-the-mysteries-of-the-desert-dwelling-marsupial-mole-246677
    https://www.science.org/doi/10.1126/sciadv.ado4140



    ข่าวอวกาศ ส่งยาน Starship และ New Glenn
    https://www.youtube.com/watch?v=tLuyH98TLks

    https://www.youtube.com/watch?v=nSaHtdo_-Ac



    https://www.youtube.com/watch?v=Vlpc36Nvuzo

    ข่าว Esa Gaia ปฏิบัติภารกิจสำเร็จลุล่วง 

    https://www.esa.int/Science_Exploration/Space_Science/Gaia

    https://www.youtube.com/watch?v=GVI6ZZs8ENM





     

    WiT Quizzz ทายนวัตกรรมงาน CES 2025





    An employee of Kirin Holdings demonstrates an electric spoon, jointly developed with Meiji University's School of Science and Technology professor Homei Miyashita, that can enhance the salty taste in food, in Tokyo, May 20, 2024. REUTERS/Tom Bateman/File Photo





     

    https://www.youtube.com/watch?v=Llw4K5EJ-5c

    https://www.youtube.com/watch?v=yYh4yw6fbUY

    https://www.youtube.com/watch?v=724KxJTCyJ0

  • WiTcast 139 - สอนลิ้นจระเข้ / แพลงก์ตอนขี้เหนียว / ปูเจ็บเป็น / ศิลปะผนังถ้ำ + นีแอนเดอร์ทัล / ยากัน HIV และ CRISPR รักษา sickle cell

    https://www.youtube.com/watch?v=t7CnIhui7og



    ศิลปะผนังถ้ำเก่าสุด 66000 ปี ฝีมือนีแอนเดอร์ทัล
    https://archaeologymag.com/2024/12/neanderthals-created-hand-stencil-over-66000-years-ago/



    งานวิจัยใหม่เจาะ timeline การเจอกันและแลกเปลี่ยนยีนส์ระหว่างมนุษย์กับนีแอนเดอร์ทัล
    https://www.cbc.ca/radio/quirks/dec-14-the-human-cell-atlas-google-maps-for-our-bodies-and-more-1.7409683



    ศิลปะผนังถ้ำเก่าสุดของ homo sapiens ส่วนใหญ่เจอที่สุลาเวสี ตัวอย่างรูปหมู อายุ 45000 ปี
    https://www.smithsonianmag.com/science-nature/45000-year-old-pig-painting-indonesia-may-be-oldest-known-animal-art-180976748/



    ข่าวเจอโซนเด็กวาดเล่นในถ้ำที่สเปน อายุ 14000 ปี
    https://www.science.org/content/article/enigmatic-cave-art-was-made-ice-age-children



    นักวิจัยออสเตรเลียสอนลิ้นจระเข้ให้เลี่ยงคางคกพิษ
    https://www.npr.org/2024/08/16/g-s1-17159/cane-toads-freshwater-crocodiles-australia-invasive-intervention

    https://www.youtube.com/watch?v=L2aVUfG40_8



    งานวิจัยปูเจ็บเป็น
    https://www.livescience.com/animals/crustaceans/do-crabs-feel-pain
    https://www.sciencealert.com/scientists-confirm-crabs-really-can-experience-pain-after-all

    https://www.cbc.ca/radio/quirks/dec-14-the-human-cell-atlas-google-maps-for-our-bodies-and-more-1.7409683



    หมวกแซลมอน แฟชั่นย้อนยุคของออร์กา?
    https://www.nationalgeographic.com/animals/article/orcas-puget-sound-salmon-hats-killer-whales



    แก้ข่าว ปลาไหลยัดจมูกแมวน้ำไม่ใช่แฟชั่น
    https://www.theguardian.com/us-news/2018/dec/06/hawaiian-monk-seal-eel-stuck-up-nose-why





    ทำให้แพลงก์ตอนขี้เหนียว กู้วิกฤติ CO2
    https://home.dartmouth.edu/news/2024/12/tiny-animals-ocean-may-help-solve-carbon-problem
    https://www.nature.com/articles/s41598-024-79912-z
    https://www.cbc.ca/radio/quirks/dec-28-silly-seals-sabotage-serious-science-and-more-1.7416089



     

     

    ยากัน HIV ผลทดสอบสุดปัง Lenacapavir
    https://www.science.org/content/article/breakthrough-2024#section_breakthrough
    https://www.gilead.com/company/company-statements/2024/gilead-submits-new-drug-application-to-us-food-and-drug-administration-for-twice-yearly-lenacapavir-for-hiv-prevention



    FDA อนุมัติการรักษา sickle cell ด้วย CRISPR (casgevy ของ Vertex)
    https://www.fda.gov/news-events/press-announcements/fda-approves-first-gene-therapies-treat-patients-sickle-cell-disease
    https://www.casgevy.com/sickle-cell-disease

  •  
    0:00 เริ่ม ทักทาย เกริ่นถึงภาพรวมซีรีส์ อนาคต
    27:22 คุยสปอย ตอน 1 Black Sheep นิราศแกะดำ
    1:12:10 คุยสปอย ตอน 2 Paradistopia เทคโนโยนี
    1:59:31 คุยสปอย ตอน 3 Bhuda Data ศาสดาต้า
    2:36:53 พีพีเล่าแรงบันดาลใจจากคุณ Jonathan Nolan
    2:45:01 คุยสปอย ตอน 4 Octopus Girl เด็กหญิงปลาหมึก

  • Time Stamps

    0:00 เริ่ม + ความประทับใจแรกต่อปารีส

    10:29 เที่ยว Lourve และความรู้สึกต่อ Mona Lisa

    27:16 เพิ่งมาถึงอีกเมืองชื่อ Vitré

    34:00 เล่าย้อนเรื่องเดินชมสวน Jardin de Plantes ยามเช้า

    42:53 เล่าย้อนไปกินโอโคโนมิยากิ + เที่ยว Montmartre + ประสบการณ์ส้วมเบร้อ

    56:55 ความประทับใจ Vitré วันแรก กินเครป + คุยเรื่องชาวฝรั่งเศสไม่ค่อยเล่นมือถือ

    1:12:33 อาบันเล่าเรื่องงานที่มาจัด workshop ด้านวัฒนธรรม

    1:20:08 อาหมีเล่าความประทับใจไปเดินเล่นคนเดียวในเมือง

    1:38:28 Vitré วันที่สอง เกร็ดประวัติศาสตร์ + การกินเครปอีกแล้ว

    1:50:03 อาบันเล่าประสบการณ์จัด workshop

    2:06:33 กลับมาปารีสอีกรอบ เดินจากโรงแรมไปมิวเซียม เล่าประสบการณ์เบร้อเล็กๆ เรื่องของกิน

    2:21:56 เล่าประสบการณ์ไป catacombs สุสานใต้ดิน

    2:42:10 เล่าประสบการณ์มิวเซียม Natural History สุดอีปิก แบ่งเป็น
    Galerie de paléontologie et d'anatomie comparée (อาคารบรรพชีวินและกายวิภาคเปรียบเทียบ) กับ Grande Galerie de l'Evolution (อาคารวิวัฒนาการ)
    --------------

    รูปเยอะจนไม่รู้จะลงยังไงหมด

  • ข่าว polaris Dawn spacewalk -1,2



    https://www.youtube.com/watch?v=VjHzpOqu5iU



    https://www.youtube.com/watch?v=hC7YvhkgZp4

     

    ข่าวหุ่นยนต์ One X

    https://www.youtube.com/watch?v=bUrLuUxv9gE

     

    ข่าวสีย้อมชีโตส Tartrazine ทำให้หนังหนูใส -1,2,3



    ข่าว Dark Oxygen -1,2



    ช่วงใหม่ "WiT สัตว์" หมูเด้ง ฮิปโปแคระ



    ข่าวแมงมุมใช้แสงหิ่งห้อยปลอมเป็นตัวเมียล่อหิ่งห้อยตัวผู้ให้มาติดใย -1,2

  • "จิตวิทยาและสมอง เพื่อคนเมือง"

    โดย ดร. นพ.ชัยภัทร ชุณหรัศมิ์, เรืองริน อักษรานุเคราะห์ และวีรธัช พงษ์เรืองเกียรติ



    คนกรุงฯ ควรดูแลสุขภาพจิตกันอย่างไร? ทำไมเมืองใหญ่ทำให้คนเหงา? สมองของเราละเอียดอ่อนและเปราะบางเพียงใด? มาร่วมหาคำตอบไปด้วยกันกับเหล่าวิทยากรมากประสบการณ์ ผู้เชี่ยวชาญทั้งประสาทวิทยาศาสตร์และจิตวิทยา!

     

  • WiT Quiz



    สัตว์โบราณตัวไหนไม่มีจริง



    เฉลย Lokiceratops จริง -1





    เฉลย Kermitops จริง -1



    เฉลย Plesiosaurus nobitai หลอก



    แต่ที่มีจริงคือไดโนเสาร์กินเนื้อตั้งชื่อตามโนบิตะ Eubrontes nobitai - 1



    พีพีกับอาจารย์ Pattie Maes ที่ MIT M

    edia Lab



    https://www.youtube.com/watch?v=nZ-VjUKAsao

     

    WiT Quiz ข้อ 2 ต่อ



    เฉลยข้อ Griffin มาจาก protoceratops หลอก - 1,2



    เฉลย หินงู snake stones ในศาสนาคริสต์คือฟอสซิลแอมโมไนต์ จริง - 1



    ฟอสซิลแอมโมไนต์ในศาสนาพุทธมีความเชื่อว่าเป็นพระเกศาธาตุของพระพุทธเจ้า - หลอก



    แต่ในศาสนาฮินดูมีนับถือแอมโมไนต์เป็นจักรของพระนารายณ์ - 1

  •  

    อ้างอิงข้อมูลงานวิจัยที่บอกว่า สภาพจิตไม่ส่งผลต่อการเป็นหรือลุกลามของมะเร็ง -1,2,3

  • ข้าพเจ้า แทนไท ประเสริฐกุล ไปสัมภาษณ์อาจารย์วินมาครับ รอบนี้คุยเรื่องคอร์ส Under the Sea ที่อ.วินเพิ่งเปิดสอนปีแรก สนุกนิ ตามมาฟังเร้ว



    https://www.youtube.com/watch?v=4aTfzkkx7XI

  • https://www.youtube.com/live/LMSoGl4fYX0?si=IpLj0F0rYsw3vZH4



    ข่าววิธีลดโกรธ -1



    ข่าวดูดคาร์บอนออกจากน้ำทะเล -1






    นกติ๊ดญี่ปุ่น ตัวเมียเมื่อถึงหน้าบ้านแล้วจะเกาะข้างหน้ากระพือปีกถี่ๆ เป็นการเชื้อเชิญสามีให้เข้าบ้านก่อน


    กบตัวเมีย มีพฤติกรรมเชื้อเชิญตัวผู้ด้วยการขยิบตา


    นกกะรางหัวขวาน ตัวเมียมีพฤติกรรมจิกหัวตัวผู้ที่ไม่ช่วยเลี้ยงลูก


     

     

    เฉลย

    ข้อ 1 จริง

    https://www.science.org/content/article/after-you-female-bird-s-flutter-conveys-polite-message-her-mate

    ข้อ 2 จริง

    https://www.science.org/content/article/flirting-female-frogs-blink-beckon-potential-princes

    ข้อ 3 หลอก

    ข่าวจริงคือแม่เลี้ยงลูกโหด ป้อนน้องให้พี่กิน

    https://www.science.org/content/article/watch-out-colorful-bird-raises-nest-cannibals

  • https://youtube.com/live/H-rlA6r-0Jo



    Ape News

    ข่าวโบโนโบ้ก้าวร้าวกว่าชิมแปนซี -1,2,3







    ข่าวอุรังใช้ยาทาแผล -1,2



    ข่าวชิมแปนซีกินขี้ค้างคาว -1

    ข่าว AlphaFold 3 -1

    ข่าว AI ช่วยค้นพบยาปฏิชีวนะ -1,2

     

     

    WiT Quizzz

    ข้อไหนหลอก

    ตุ่นปากเป็ด สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ประหลาดที่สุด นอกจากไม่มีหัวนมแล้ว นักวิทย์ยังเพิ่งค้นพบว่ามันสามารถให้นมทางตูดได้ด้วย
    งานวิจัยล่าสุดชี้ ความสำเร็จในการลดมลพิษทางอากาศของจีน ส่งผลให้โลกร้อนหนักขึ้นในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมา
    ออสเตรเลียทำโครงการอนุรักษ์เหี้ยท้องถิ่นด้วยการปล่อยไข่คางคกพิษ 200,000 ฟอง

    เฉลย

    ข้อ 2 จริง

    https://www.science.org/content/article/deadly-pacific-blobs-tied-emission-cuts-china

    https://www.science.org/content/article/clearer-skies-may-be-accelerating-global-warming

    ข้อ 3 จริง

    https://www.science.org/content/article/young-toads-are-teaching-australian-lizards-to-avoid-deadly-snacks

    ข้อ 1 หลอก

    เรื่องจริงคือ เขียดงูให้นมลูกทางตูด พฤติกรรมที่เพิ่งค้นพบ

    https://www.science.org/content/article/watch-snakelike-creature-feed-milk-its-young

  • https://youtu.be/vndKvGdkXZk?si=cAcpvFqv8RyeZ-OL



    ข้อมูลเพิ่มเติมของโครงการ BrainCode 101 https://braincode101.github.io/

    ฟัง podcast จบ ชวนไปลงลึกยิ่งขึ้นกับคอร์ส Brain Building Block ทางช่อง @brainCode101

    https://www.youtube.com/watch?v=kk3OFeGYAzA

    และถ้าสนใจมาเข้าค่าย brainCodeCamp เปิดรับสมัครแล้วตั้งแต่ 16 มิถุนายน - 15 กรกฎาคม 2566 https://braincodecamp.web.app/

     

    ชื่อจริงแขกรับเชิญ

    หมอกิ๊ก : ชัยภัทร ชุณหรัศมิ์

    อ.ปอล : ลลิตตา สุริยาอรุณโรจน์

    พิธีกร : แทนไท ประเสริฐกุล, อาบัน สามัญชน

     

    งานนี้ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคน และทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัยและการสร้างนวัตกรรม

    This research has received funding support from the NSRF via the Program Management Unit for Human Resources & Institutional Development, Research and Innovation